วันศุกร์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2562

โครงการธนาคารโค – กระบือเพื่อเกษตรกร ตามพระราชดำริ กลุ่มโคเนื้อบ้านน้ำตกพัฒนา หมู่ที่ 7 ต.ทุ่งก่อ


โครงการธนาคารโค – กระบือเพื่อเกษตรกร ตามพระราชดำริ
กลุ่มโคเนื้อบ้านน้ำตกพัฒนา หมู่ที่ 7 ต.ทุ่งก่อ อ.เวียงเชียงรุ้ง จ. เชียงราย
ข้อมูลพื้นที่กลุ่มบ้านน้ำตกพัฒนา

 


ที่ตั้งและสภาพพื้นที่




          กลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อ โครงการธนาคารโค-กระบือ เพื่อเกษตรกรตามพระราชดำริ ตั้งอยู่ที่บ้าน               น้ำตกพัฒนา หมู่ที่ 7 ตำบลทุ่งก่อ อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย ห่างจากที่ว่าการอำเภอเวียงเชียงรุ้ง     ประมาณ 12.7 กิโลเมตร
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศบ้านน้ำตกพัฒนา หมู่ที่ 7 เดิมชื่อว่า “หมู่บ้านแม่สัก” ได้ก่อตั้งหมู่บ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2510 ซึ่งมีนายปัน มณีวรรณ อพยพย้ายถิ่นฐานมาจาก บ้านเหล่า พร้อมญาติมิตร มาลงหลักปักฐาน หลังจากนั้นไม่กี่ปี ก็มีเครือญาติมาช่วยกันพัฒนาหมู่บ้านให้เจริญและได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น “บ้านน้ำตกพัฒนา” จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันบ้านน้ำตกพัฒนาได้มีประชากร 848 คน แยกเป็นชาย 443 คน หญิง 405 คน ผู้สูงอายุ 115 คน เด็กเล็ก 45 คน เด็กวัยเรียน 70 คน ผู้พิการ 20 คน  มีนายทองทิพย์ กุลสุวรรณ เป็นผู้ใหญ่บ้าน
สภาพเศรษฐกิจ
        โครงสร้างทางเศรษฐกิจของบ้านน้ำตกพัฒนา จะขึ้นอยู่กับผลผลิตทางเกษตรกรรม ทำไร่ ทำนา ทำสวน         พืชที่ปลูก เช่น ลำไย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พริก ทำสวนผัก ยางพารา มันสำปะลัง ปลูกต้นสัก สับปะรด มะละกอ หน่อไม้ฝรั่ง ทุเรียน หญ้าเนเปียร เป็นต้น ด้านปศุสัตว์  จะมีการเลี้ยง โค สุกรและไก่พื้นเมือง ประชากรตำบลทุ่งก่อ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาชีพรับจ้างทั่วไป การประกอบธุรกิจในชุมชนเป็นธุรกิจขนาดเล็ก โดยใช้แรงงานในครอบครัวและใช้สถานที่อยู่อาศัยเป็นสถานที่ประกอบการ






1. จำนวนสัตว์โครงการธนาคารโค – กระบือเพื่อเกษตรกร ตามพระราชดำริ
กลุ่มบ้านน้ำตกพัฒนา ได้รับโคจากโครงการธนาคารโค –กระบือเพื่อเกษตรกร ตามพระราชดำริ         โดยใช้แนวทางการให้บริการที่ 1 คือ การให้ยืมเพื่อการผลิต ในปัจจุบันมีโคในกลุ่มจำนวน 100 ตัว โดยได้รับ           มอบเมื่อปี 2557 จำนวน 50 ตัว ปัจจุบันกลุ่มมีเกษตรกรสมาชิกโครงการธนาคารโค-กระบือฯ 50 ราย       จำนวนโค 100 ตัว
ปี พ.ศ.
จำนวนสัตว์โครงการ (ตัว)
มอบกรรมสิทธิ์ และตัดออกจากทะเบียน
(ตัว)
จำนวนสัตว์ที่มีในทะเบียน
ลูกตัวที่ 1 (ตัว)
ลูกตัวที่ 2 (ตัว)
ลูกตัวที่ 3 (ตัว)


รวม
(ตัว)

หมายเหตุ
แม่พันธุ์
พ่อพันธุ์
โค
กระบือ
โค
กระบือ
   โค
กระบือ
โค
กระบือ
โค
กระบือ
เพศผู้
เพศเมีย
เพศผู้
เพศเมีย
    เพศผู้
เพศเมีย  
    เพศผู้
เพศเมีย
  เพศผู้
เพศเมีย
    เพศผู้
เพศเมีย
2557
50
-
50
-
-
-























































































































ตารางแสดงจำนวนโค-กระบือโครงการธนาคารโค-กระบือเพื่อเกษตรกร ตามพระราชดำริ กลุ่มบ้านน้ำตกพัฒนา หมู่ 7 ตำบลทุ่งก่อ อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย
 สรุป
            1.1 จำนวนโคของ ธคก. ในกลุ่มบ้านน้ำตกพัฒนา มีจำนวนทั้งสิ้น  100  ตัว เกษตรกรสมาชิกฯกลุ่มจำนวน 50 ราย
            1.2 จำนวนลูกตัวโคตัวที่ 1 จำนวน    ตัว แยกเป็นเพศผู้จำนวน     ตัว เพศเมียจำนวน   ตัว จำนวนลูกโค ตัวที่ 1 คิดเป็นมูลค่าที่สร้างมูลค่าให้กับเกษตรกรและโครงการประมาณ         บาท
            1.3 จำนวนลูกโคตัวที่ 2-3 -ไม่มี        
1.4 คอกสัตว์ของสมาชิกมีป้ายชื่อ มีรางน้ำรางอาหาร ครบทุกราย 100 %  เนื่องจากเป็นเงื่อนไขของโครงการธนาคารโค-กระบือเพื่อเกษตรกรตามพระราชดำริ และสมาชิกกลุ่มฯทุกรายถือปฏิบัติตามเงื่อนไขของโครงการอย่างเคร่งครัด
    
  
         1.5 มีการปลูกหญ้าอาหารสัตว์/แปลงหญ้า/การสำรองพืชอาหารสัตว์ ทั้งของกลุ่มและของสมาชิกแต่ละราย  โดยกลุ่มฯจะมีการอัดฟางไว้ในหลังฤดูเก็บเกี่ยวโดยใช้เครื่องอัดฟางที่ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดและของสมาชิกกลุ่มฯ รวมทั้งมีการ
   
 
         1.6 มีคอกกลางหรือซองบังคับสัตว์ประจำกลุ่มฯ และสมาชิกจะทำซองบังคับสัตว์ประจำคอกของตัวเองเนื่องจากสมาชิกกลุ่มบ้านโฮ่งทุกรายใช้บริการการผสมเทียมจากหน่วยผสมเทียมของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอแม่สรวย 100 เปอร์เซ็นต์
             1.7 มีโปรแกรมการถ่ายพยาธิ์และโปรแกรมการป้องกันโรคระบาดสัตว์ที่แน่นอนประจำทุกปีโดยร่วมวางแผนและปฏิบัติงานกับเจ้าหน้าที่ของสำนักงานปศุสัตว์อำเภอแม่สรวย
    
 




1.8 มีประโยชน์จากมูลสัตว์และแรงงานสัตว์ โดยมีกิจกรรมนำขี้วัวมาทำบ่อแก๊สชีวภาพเพื่อเป็นการลดรายจ่ายในครัวเรือนในการหุงต้มและให้แสงสว่าง
      
      
 
กลุ่มสมาชิก ธคก.บ้านโฮ่งมีบ่อแก๊สชีวภาพจำนวน 11 บ่อ และจากการติดตามประเมินการใช้งานของสมาชิกธคก.ที่มีบ่อแก๊สทราบว่า 1 บ่อ สามารถทดแทนการใช้แก๊สหุงต้มที่ต้องซื้อโดยเฉลี่ย 1 ถัง/เดือน ราคาแก๊สในอำเภอแม่สรวยปัจจุบัน ราคาถังละ 430 บาท ดังนั้นเกษตรกรจึงสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนด้านแก๊สหุงต้มได้ 430 บาท/ครัวเรือน/เดือน และสมาชิกกลุ่มฯบ้านโฮ่งสามารถลดรายจ่ายได้ครัวเรือนรวม 4,730 บาท/เดือน และ 56,760 บาท/ปี
            1.9 มีบัตรประจำตัวสัตว์และการบันทึกข้อมูลสัตว์ประจำกลุ่มฯ
 
 
            กลุ่มฯ มีการจัดทำทะเบียนประวัติสัตว์ของกลุ่มฯไว้เป็นรูปเล่มที่สัมพันธ์กับทะเบียนประวัติสัตว์ของสำนักงานปศุสัตว์เภอแม่สรวย ซึ่งประกอบด้วยชื่อ-สกุลของสมาชิกแต่ละรายพร้อมรูปภาพประกอบ หมายเลขบัตรประจำตัว หมายเลขสัญญายืมโค ที่อยู่ มูลค่าโคที่ยืม วันรับมอบโค วันครบสัญญายืม พิกัดGPSฟาร์ม หมายเลขโทรศัพท์ของสมาชิกผู้ยืม หมายเลขประจำตัวโคที่ยืมพร้อมรูปถ่าย ประวัติการทำวัคซีนหรือถ่ายพยาธิ์ รวมทั้งวันเกิดลูกโคตัวที่ 1 พร้อมภาพถ่าย



2. การบริหารจัดการกลุ่ม/หมู่บ้าน
            มีการประชุมกลุ่มฯเป็นประจำทุกเดือน เพื่อปรึกษาหารือระบบการเลี้ยง แนวทางการพัฒนากลุ่ม การออม การควบคุมป้องกันโรค การเตรียมพร้อมสำหรับภัยพิบัติต่างๆ ฯลฯ รวมทั้งมีการบันทึกการประชุมทุกครั้ง
            2.1 มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานของกลุ่มตั้งแต่เริ่มก่อตั้งกลุ่ม
 
 
นายสมทิน ดวงแก้ว ประธานกลุ่มฯ
กลุ่มฯมีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำงานของกลุ่มตั้งแต่เริ่มก่อตั้งและเข้าร่วมโครงการธคก. โดยมีนายสมทิม ดวงแก้ว เป็นประธานฯนายสมาน ตาแก้ว เป็นรองประธาน และมีคณะกรรมการฝ่ายต่างๆประกอบด้วย ฝ่ายเลขาฯ เหรัญญิก ประชาสัมพันธ์ และคณะกรรมการอีก 6 คน รวมคณะกรรมการทั้งหมด 11 คน ดำเนินกิจกรรมของกลุ่มโดยยึดหลักประชาธิปไตยใช้เสียงส่วนมากในการดำเนินการต่างๆ
            2.2 มีกฎระเบียบข้อบังคับกลุ่ม
 
 กลุ่มฯมีการจัดทำระเบียบข้อบังคับต่างๆของกลุ่มฯขึ้นมาเพื่อให้สมาชิกฯทุกคนปฏิบัติโดยยึดหลัก ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผลประโยชน์



            2.3 มีการจัดตั้งกองทุนของกลุ่ม และการใช้ประโยชน์จากกองทุน
     
                        มีการจัดตั้งกองทุนสัจจะสะสมทรัพย์เพื่อให้สมาชิกฯทุกคนได้ออมทรัพย์  โดยยึดหลัก ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด เก็บออม และมีคุณธรรม มีการจัดทำสมุดเงินฝากสำหรับสมาชิกฯเป็นรายบุคคล ซึ่งเงินออมดังกล่าวได้นำมาใช้ในกิจกรรมของกลุ่มและให้สมาชิกกลุ่มกู้เพื่อลงทุนปรับปรุงฟาร์มหรือบรรเทาความเดือดร้อนเมื่อครอบครัวประสบปัญหาสภาพคล่อง โดยเปิดให้สมาชิกฯกู้ทั้งแบบกู้สามัญและฉุกเฉิน คิดดอกเบี้ยกับสมาชิกในอัตราต่ำ ทำให้เกิดการหมุนเวียนเงินในกลุ่มฯอย่างสม่ำเสมอ โดยปัจจุบันมีเงินสดตามสมุดคุมเงินสดของกลุ่มฯ(ณ วันที่ 28 กันยายน 2561) จำนวน 66,001 บาท (หกหมื่นหกพันหนึ่งบาทถ้วน)







            2.4 มีการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารภายในกลุ่ม
         
            มีการใช้ไลน์แอฟลิเคชั่นชื่อ “กลุ่มโคเนื้อบ้านโฮ่ง”ในการติดต่อสื่อสารให้ความรู้ระหว่างสมาชิกฯ เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง




            2.5 มีการจัดทำรายละเอียดทะเบียนสัตว์ประจำกลุ่ม
       
            2.6 มีการประชุมกลุ่ม/รายงานการประชุม
 
            มีการประชุมกลุ่มตั้งแต่ก่อตั้งกลุ่มเป็นประจำทุกเดือนอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และมีการบันทึกการประชุมในสมุดบันทึกการประชุมทุกครั้ง


2.7 มีการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ และร่วมดำเนินกิจกรรมด้านต่างๆของกลุ่ม
 
  
                        มีการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ และร่วมดำเนินกิจกรรมด้านต่างๆของกลุ่มผ่านการประชุมกลุ่ม และตัดสินใจภายใต้ระบอบประชาธิปไตถือเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์









            2.8 มีการวางแผน ป้องกัน เตรียมความพร้อมด้านปศุสัตว์ในกรณีเกิดภัยธรรมชาติ โดยมีการจัดเตรียมคอก/โรงเรือน/อาหารสัตว์ไว้
 
 


3. การมีส่วนร่วมกับชุมชน หรือองค์กรต่างๆ
            3.1 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ปัจจัยการผลิต จากหน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ
            กลุ่มได้รับการสนับสนุนจากโครงการศูนย์เรียนรู้เครือข่าย ศพก.ด้านปศุสัตว์ จากกรมส่งเสริมการเกษตรโดยสำนักงานเกษตรอำเภอแม่สรวย ให้การสนับสนุนงบประมาณจำนวน 300,000 บาท (สามแสนบาท) เพื่อพัฒนากลุ่มผู้เลี้ยงโคบ้านโฮ่งเป็นศูนย์เครือข่ายศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ด้านปศุสัตว์ โดยแยกเป็น
                        - งบก่อสร้างอาคาร 100,000 บาท
                        - งบการฝึกอบรม 100,000 บาท
                        - ประชาสัมพันธ์ 100,000 บาท

            3.2 เป็นศูนย์เรียนรู้ทางด้านการเลี้ยงสัตว์ให้กับชุมชนและผู้ที่สนใจ ซึ่งได้มีกลุ่มฯผู้เลี้ยงสัตว์ทั้งภายในอำเภอแม่สรวย ต่างอำเภอหรือต่างจังหวัดมาศึกษาดูงานเป็นประจำ

3.3 ส่งเสริมให้สมาชิกกลุ่มฯพัฒนาฟาร์มของตนเองให้เข้าสู่มาตรฐานฟาร์มเพื่อให้เข้ากับยุทธศาสตร์ของจังหวัดเชียงรายและกลุ่มจังหวัดฯ และยกระดับการเลี้ยงโคให้ได้มาตรฐานตามนโยบายกรมปศุสัตว์
โดยปัจจุบันมีฟาร์มที่ได้รับมาตรฐานจากกรมปศุสัตว์แล้วจำนวน 2 ฟาร์มคือฟาร์มของนายสมทิน ดวงแก้ว และฟาร์มของนายชนะไชย คำปา


3.4 กลุ่มบ้านโฮ่งกำหนดให้สมาชิกทุกรายใช้บริการผสมเทียมจากหน่วยผสมเทียมสำนักงานปศุสัตว์อำเภอแม่สรวย 100 เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการพัฒนาสายพันธ์และเพิ่มผลผลิตให้กับเกษตรกรที่จะรับลูกขยาย(ตัวเมีย)จากกลุ่มฯไปเลี้ยง ในปัจจุบันได้ขยายลูกโคเพศเมียที่เป็นลูกผสมพันธุ์ยุโรปและลูกผสมพันธุ์บีฟมาสเตอร์ (ตามยุทธศาสตร์สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดเชียงราย) ไปให้กลุ่มฯอื่นในอำเภอแม่สรวยไปเลี้ยงขยายพันธุ์แล้ว
ลูกโคตัวที่ 1 ที่เกิดจากการผสมเทียม